เป็ดไข่นครปฐม (Nakorn Pathom Egg Duck)
ลักษณะประจำพันธุ์
- เพศเมีย มีสีน้ำตาลลายกาบอ้อย
- เพศผู้ หัวมีสีเขียวเข้ม คอควั่นเป็นวงแหวนสีขาว ปากสีเทา เท้าและแข้งสีส้ม
ลักษณะเด่นลักษณะด้อย
มีสีสันสวยงาม ขนาดตัวใหญ่กว่าเป็ดกากีแคมป์เบลล์ ให้ไข่ขนาดใหญ่ แต่ให้ไข่ช้ากว่าเป็ดกากีแคมป์เบลล์
- เพศเมีย มีสีน้ำตาลลายกาบอ้อย
- เพศผู้ หัวมีสีเขียวเข้ม คอควั่นเป็นวงแหวนสีขาว ปากสีเทา เท้าและแข้งสีส้ม
ลักษณะเด่นลักษณะด้อย
มีสีสันสวยงาม ขนาดตัวใหญ่กว่าเป็ดกากีแคมป์เบลล์ ให้ไข่ขนาดใหญ่ แต่ให้ไข่ช้ากว่าเป็ดกากีแคมป์เบลล์
เป็ดนครปฐม เป็นเป็ดพันธุ์พื้นเมืองไทยที่ใกล้สูญพันธุ์ สถาบันวิจัยและพัฒนาสัตว์ปีกแห่งชาติได้รวบรวมพันธุ์มาจากชายแดนภาคใต้ 20-30 ตัว เป็นฝูงสุดท้ายที่รวบรวมได้ เมื่อปี พ.ศ. 2533 ปัจจุบันทำการวิจัยด้านพันธุกรรมและพัฒนาพันธุ์ เพื่อวัตถุประสงค์ให้เป็นเป็ดที่ให้ทั้งไข่และเนื้อ และต้านทานโรค ซึ่งกรมปศุสัตว์จะดำเนินการจดทะเบียนเป็นแหล่งพันธุกรรมสัตว์พื้นเมืองต่อไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น